วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552
การกรองการกรอง คือ การ
แยกสารผสมที่มีสถานะเป็นของแข็งออกจากของเหลว โดยใช้กระดาษกรองซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็ก ทำให้อนุภาคของของแข็งนั้นไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ส่วนอนุภาคของของเหลวจะผ่านกระดาษกรองได้ ซึ่งในชีวิตประจำวันเราจะคุ้นเคยกับการกรองในรูปของการใช้ผ้าขาวบางในการคั้นน้ำกะทิจากมะพร้าว แผ่นกรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์กรองน้ำสะอาดในเครื่องกรองน้ำ เป็นต้นการตกตะกอนการตกตะกอน คือ การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งที่แขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยมีหลักการที่สำคัญ คือ การนำสารผสมตั้งทิ้งไว้ เนื่องจากอนุภาคของแข็งที่แฝงอยู่นั้นมีน้ำหนัก ดังนั้นจึงตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ จากนั้นรินอนุภาคของเหลวด้านบนออกจากอนุภาคของของแข็งจะทำให้ได้สารบริสุทธิ์ทั้งสองส่วน ตัวอย่างของผสมที่ใช้วิธีการแยกสารโดยการตกตะกอน คือ น้ำโคลน ประกอบด้วยส่วนของดินที่แขวนลอยในน้ำ เมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ อนุภาคของดินจะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ส่วนน้ำจะใสขึ้นสามารถรินแยกออกจากกันได้ เพื่อเป็นการลดเวลาในการตกตะกอนของสารแขวนลอย นักวิทยาศาสตร์จึงได้คิดค้นเครื่องเหวี่ยง (centrifuge) แรงเหวี่ยงดังกล่าวจะทำให้ของแข็งที่แขวนลอยในของเหลวตกตะกอนได้ง่ายและเร็วขึ้น
แยกสารผสมที่มีสถานะเป็นของแข็งออกจากของเหลว โดยใช้กระดาษกรองซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็ก ทำให้อนุภาคของของแข็งนั้นไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ส่วนอนุภาคของของเหลวจะผ่านกระดาษกรองได้ ซึ่งในชีวิตประจำวันเราจะคุ้นเคยกับการกรองในรูปของการใช้ผ้าขาวบางในการคั้นน้ำกะทิจากมะพร้าว แผ่นกรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์กรองน้ำสะอาดในเครื่องกรองน้ำ เป็นต้นการตกตะกอนการตกตะกอน คือ การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งที่แขวนลอยอยู่ในของเหลว โดยมีหลักการที่สำคัญ คือ การนำสารผสมตั้งทิ้งไว้ เนื่องจากอนุภาคของแข็งที่แฝงอยู่นั้นมีน้ำหนัก ดังนั้นจึงตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ จากนั้นรินอนุภาคของเหลวด้านบนออกจากอนุภาคของของแข็งจะทำให้ได้สารบริสุทธิ์ทั้งสองส่วน ตัวอย่างของผสมที่ใช้วิธีการแยกสารโดยการตกตะกอน คือ น้ำโคลน ประกอบด้วยส่วนของดินที่แขวนลอยในน้ำ เมื่อตั้งทิ้งไว้นานๆ อนุภาคของดินจะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ ส่วนน้ำจะใสขึ้นสามารถรินแยกออกจากกันได้ เพื่อเป็นการลดเวลาในการตกตะกอนของสารแขวนลอย นักวิทยาศาสตร์จึงได้คิดค้นเครื่องเหวี่ยง (centrifuge) แรงเหวี่ยงดังกล่าวจะทำให้ของแข็งที่แขวนลอยในของเหลวตกตะกอนได้ง่ายและเร็วขึ้น
วันจันทร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2552
การตกผลึกการตกผลึก คือ การแยกของผสมที่เป็นของแข็งที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายต่างกันและได้ไม่เท่ากันทุกอุณหภูมิ มีหลักการ คือ เมื่อนำของผสมละลายในตัวทำละลายต้มสารละลายนั้นจนละลายหมด แล้วทิ้งให้อุณหภูมิลดลง สารที่ละลายน้อยกว่าจะอิ่มตัวแล้วตกผลึกแยกออกมาก่อน เช่น น้ำตาลกับเกลือซิลเวอร์ไนเตรตกับโพแทสเซียมไนเตรต การแยกเกลือโซเดียมคลอไรด์ออกจากน้ำทะเลรูปแสดงตัวอย่างผลึกบางชนิดการสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย คือ การแยกสารโดยอาศัยสมบัติการละลายของสารในตัวทำละลาย ต้องคำนึงถึงตัวทำละลายที่เหมาะสมเพื่อให้ได้สารที่ต้องการในปริมาณมาก มีหลักการดังนี้ - เลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมเพื่อสกัดให้ได้สารที่ต้องการออกมามากและต้องมีสิ่งเจือปนติดน้อยที่สุด และไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่ต้องการสกัด- กรณีที่ต้องแยกสารผสมที่มีองค์ประกอบปนกันหลายชนิด ต้องเลือกตัวทำละลายที่ละลายสารใดสารหนึ่งได้มากและอีกสารได้น้อยมาก เพื่อให้เจือปนกันน้อยที่สุด- แยกสารที่ไม่ต้องการออกไป โดยกระบวนการแยกสารต่างๆ เช่น การกรอง เป็นต้น- แยกสารที่ต้องการออกจากตัวทำละลายซึ่งวิธีการนี้จะนิยมใช้สกัดสีจากธรรมชาติ สมุนไพร สกัดน้ำมันหอมระเหย เป็นวิธีการที่ประหยัดและปลอดภัย
เขียนโดย พสิกา จันทร์พุด0 ความคิดเห็น
เขียนโดย พสิกา จันทร์พุด0 ความคิดเห็น
การตกผลึกการตกผลึก คือ การแยกของผสมที่เป็นของแข็งที่มีสมบัติการละลายในตัวทำละลายต่างกันและได้ไม่เท่ากันทุกอุณหภูมิ มีหลักการ คือ เมื่อนำของผสมละลายในตัวทำละลายต้มสารละลายนั้นจนละลายหมด แล้วทิ้งให้อุณหภูมิลดลง สารที่ละลายน้อยกว่าจะอิ่มตัวแล้วตกผลึกแยกออกมาก่อน เช่น น้ำตาลกับเกลือซิลเวอร์ไนเตรตกับโพแทสเซียมไนเตรต การแยกเกลือโซเดียมคลอไรด์ออกจากน้ำทะเลรูปแสดงตัวอย่างผลึกบางชนิดการสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย คือ การแยกสารโดยอาศัยสมบัติการละลายของสารในตัวทำละลาย ต้องคำนึงถึงตัวทำละลายที่เหมาะสมเพื่อให้ได้สารที่ต้องการในปริมาณมาก มีหลักการดังนี้ - เลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมเพื่อสกัดให้ได้สารที่ต้องการออกมามากและต้องมีสิ่งเจือปนติดน้อยที่สุด และไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่ต้องการสกัด- กรณีที่ต้องแยกสารผสมที่มีองค์ประกอบปนกันหลายชนิด ต้องเลือกตัวทำละลายที่ละลายสารใดสารหนึ่งได้มากและอีกสารได้น้อยมาก เพื่อให้เจือปนกันน้อยที่สุด- แยกสารที่ไม่ต้องการออกไป โดยกระบวนการแยกสารต่างๆ เช่น การกรอง เป็นต้น- แยกสารที่ต้องการออกจากตัวทำละลายซึ่งวิธีการนี้จะนิยมใช้สกัดสีจากธรรมชาติ สมุนไพร สกัดน้ำมันหอมระเหย เป็นวิธีการที่ประหยัดและปลอดภัย
เขียนโดย พสิกา จันทร์พุด0 ความคิดเห็น
เขียนโดย พสิกา จันทร์พุด0 ความคิดเห็น
วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2552
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.ข้อจำกัดของการใช้เทคนิคโครมาโทกราฟี คือข้อใด
ก.ใช้ทดสอบสารตัวอย่างปริมาณน้อยๆ ไม่ได้
ข.ใช้แยกองค์ประกอบต่างๆ ในของผสมที่ไม่มีสีออกจากกันไม่ได้
ค.องค์ประกอบต่างๆ ในของผสมที่เคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้เกือบเท่ากัน จะแยกจากกันไม่ได้
ง.ถ้าแยกองค์ประกอบต่างๆ ในของผสมออกจากกันได้แล้ว จะสกัดสารเหล่านั้นออกจากตัวดูดซับไม่ได้
2.เมื่อใช้โครมาโทกราฟีกระดาษแยกสีผสมออกจากกันโดยใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย ปรากฎว่ามีสี 3 ชนิดแยกออกจากกันเรียงตามลำดับจากจุดเริ่มต้นดังนี้ แดง เหลือง และเขียว แสดงว่า
ก.สีแดงมีมวลโมเลกุลสูงที่สุด จึงเคลื่อนที่ได้ช้า
ข.สีเขียวละลายน้ำได้มากกว่า จึงเคลื่อนที่ได้ไกลที่สุด
ค.สีแดงมีสมบัติเป็นตัวดูดซับ จึงเคลื่อนที่ได้ช้า
ง.สีเขียวละลายน้ำได้น้อยมาก จึงเคลื่อนที่มาพร้อมๆ กับน้ำ
3.สารละลายที่ไม่สามารถใช้วิธีการแยกโดยการระเหยได้คือข้อใด
ก.สารละลายน้ำตาล
ข.สารละลายเกลือแกง
ค.สารละลายแอลกอฮอล์
ง.สารละลายแคลเซียมคลอไรด์
4.การแยกสารบริสุทธิ์ด้วยวิธีโครมาโทกราฟีอาศัยหลักการในเรื่องใด
ก.ความแตกต่างของการดูดซับ
ข.ความแตกต่างของสารในการละลาย
ค.ความแตกต่างของสารที่ใช้เป็นตัวทำละลาย
ง.ความแตกต่างของการละลายและการดูดซับ
5.ข้อใดไม่ใช่ความผิดพลาดในการแยกสารละลายด้วยวิธีโครมาโทกราฟี
ก.การใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย
ข.การหยดสารละลายเป็นจุดใหญ่เกินไป
ค.ความอิ่มตัวของระบบของตัวทำละลาย
ง.สารละลายที่ใช้ทดสอบมีความเข้มข้นเกินไป
1.ข้อจำกัดของการใช้เทคนิคโครมาโทกราฟี คือข้อใด
ก.ใช้ทดสอบสารตัวอย่างปริมาณน้อยๆ ไม่ได้
ข.ใช้แยกองค์ประกอบต่างๆ ในของผสมที่ไม่มีสีออกจากกันไม่ได้
ค.องค์ประกอบต่างๆ ในของผสมที่เคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้เกือบเท่ากัน จะแยกจากกันไม่ได้
ง.ถ้าแยกองค์ประกอบต่างๆ ในของผสมออกจากกันได้แล้ว จะสกัดสารเหล่านั้นออกจากตัวดูดซับไม่ได้
2.เมื่อใช้โครมาโทกราฟีกระดาษแยกสีผสมออกจากกันโดยใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย ปรากฎว่ามีสี 3 ชนิดแยกออกจากกันเรียงตามลำดับจากจุดเริ่มต้นดังนี้ แดง เหลือง และเขียว แสดงว่า
ก.สีแดงมีมวลโมเลกุลสูงที่สุด จึงเคลื่อนที่ได้ช้า
ข.สีเขียวละลายน้ำได้มากกว่า จึงเคลื่อนที่ได้ไกลที่สุด
ค.สีแดงมีสมบัติเป็นตัวดูดซับ จึงเคลื่อนที่ได้ช้า
ง.สีเขียวละลายน้ำได้น้อยมาก จึงเคลื่อนที่มาพร้อมๆ กับน้ำ
3.สารละลายที่ไม่สามารถใช้วิธีการแยกโดยการระเหยได้คือข้อใด
ก.สารละลายน้ำตาล
ข.สารละลายเกลือแกง
ค.สารละลายแอลกอฮอล์
ง.สารละลายแคลเซียมคลอไรด์
4.การแยกสารบริสุทธิ์ด้วยวิธีโครมาโทกราฟีอาศัยหลักการในเรื่องใด
ก.ความแตกต่างของการดูดซับ
ข.ความแตกต่างของสารในการละลาย
ค.ความแตกต่างของสารที่ใช้เป็นตัวทำละลาย
ง.ความแตกต่างของการละลายและการดูดซับ
5.ข้อใดไม่ใช่ความผิดพลาดในการแยกสารละลายด้วยวิธีโครมาโทกราฟี
ก.การใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย
ข.การหยดสารละลายเป็นจุดใหญ่เกินไป
ค.ความอิ่มตัวของระบบของตัวทำละลาย
ง.สารละลายที่ใช้ทดสอบมีความเข้มข้นเกินไป
การสร้างที่เก็บน้ำด้วยไม้ไผ่
เครื่องสานจากไม้ไผ่ไม่ว่าจะเป็นรูปร่างอย่างไรก็ตามสามารถทำ ให้เป็นภาชนะสำหรับเก็บน้ำได้ โดยการนำมาฉาบด้วย “ฟลิ้นโค้ท” ซึ่งเป็น สารผสมที่ทำมาจากยางมะตอยและสารยึดเหนี่ยวหลายชนิด เป็นของเหลว ที่แห้งเร็วมีคราบเหนียว ผสมน้ำได้ แต่เมื่อแห้งแล้วไม่ละลายน้ำ ทนน้ำและ ทนทานต่อความร้อน เย็น ไม่ละลายเมื่อถูกแดดเหมือนยางมะตอย และไม่ ผุกรอบเหมือนชัน จึงมีความทนทานและมีราคาถูก ส่วนเครื่องสานไม้ไผ่ ควรสานให้ทึบที่สุด เพื่อให้ฉาบฟลิ้นโค้ทได้ง่าย
วัสดุและอุปกรณ์
1. เครื่องสานด้วยไม้ไผ่ตามขนาดที่ต้องการ
2. ฟลิ้นโค้ทชนิดผสมน้ำหาซื้อได้ตามร้านขายปุ๋ย ขายสีทาบ้าน หรือยาฆ่าแมลงหรือตามปั๊มน้ำมันเชลล์ทั่วไป
3. ผ้าฝ้ายเป็นผ้าเก่าหรือใหม่ก็ได้ หรือกระดาษสา ถ้าหาไม่ได้ก็ ใช้เศษกระดาษทั่วไปแทนก็ได้
4. แปรงสำหรับใช้ทา หรือจะใช้มือก็ได้
ภาพตัวอย่างเครื่องสาน
วิธีทาฟลิ้นโค้ทบนเครื่องสาน
เริ่มทางด้านในก่อนตามลำดับดังนี้
1. ใช้ฟลิ้นโค้ทผสมน้ำเล็กน้อยทาบาง ๆ ให้ทั่วเป็นชั้นแรก นำไป ผึ่งแดดให้พอหมาด
2. ใช้ฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ทาจนทั่วเป็นชั้นที่สอง ผึ่งแดดแห้งพอหมาด แล้วจึงทาชั้นที่สามให้ทึบ
3. เอาผ้าฝ้ายตัดเป็นชิ้นในขนาดที่ทำสะดวก ชุบน้ำให้เปียกจนทั่ว บีบน้ำทิ้งแล้วชุบฟลิ้นโค้ท แล้วบุด้านในให้ชายผ้าทับกันให้เรียบร้อย ค่อย ๆ ทำไปทีละชิ้นจนแล้วเสร็จ ถ้าเป็นกระดาษสาไม่ต้องชุบน้ำ เมื่อบุดังนี้ เสร็จแล้วรีบทาทันทีเป็นชั้นที่สี่ แล้วตากให้แห้งพอหมาด ๆ
4. ทาฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ทับให้ทั่วเป็นชั้นสุดท้าย
ด้านนอก : ทาฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ให้ทั่วสักสองชั้น โดยเว้นระยะผึ่ง แดดเหมือนด้านใน ทั้งสองด้านนี้ใช้เวลาประมาณ 4 ชม. เมื่อเสร็จเรียบร้อย ทุกอย่างแล้ว ให้ตากแดดทิ้งไว้สัก 1 วัน ก็นำมาใส่น้ำได้ น้ำจะไม่มีพิษหรือกลิ่นที่เป็นอันตราย ดื่มหรือใช้ได้ตามความต้องการ
ข้อดีของที่เก็บน้ำแบบนี้คือ ราคาถูกเพราะสานได้เอง มีน้ำหนักเบา ตกไม่แตก ทนทานต่อแดดฝน กันปลวกมอดได้ดีกว่าเครื่องสานอื่น ๆ และ ซ่อมแซมง่ายเมื่อเกิดการรั่วซึม
ข้อควรระวัง
เมื่อฟลิ้นโค้ทเปื้อนเสื้อผ้า ต้องรีบขยำน้ำทันที ถ้าปล่อยให้แห้งต้อง ซักด้วยน้ำมันก๊าซ อย่าใช้ภาชนะนี้ใส่น้ำมัน เพราะฟลิ้นโค้ทแบบผสมน้ำนี้ สามารถละลายได้ในน้ำมัน ฟลิ้นโค้ทที่เหลือใช้ควรเก็บไว้ในที่ปกปิดมิดชิด ถ้าเก็บดีจะนำมาใช้ได้อีก ไม้ไผ่ที่นำมาสานต้องมีอายุแก่พอเหมาะที่จะใช้ งานได้ดี เพื่อป้องกันมอด ฝีมือสานก็ต้องดีพอ และถ้าทำขนาดใหญ่ควร มีโครงแข็งแรงเพิ่มขึ้น เมื่อยังไม่แห้งสนิท อย่าให้ถูกน้ำหรือตากฝน
เพื่อนเกษตร 6(9), 2522
ที่มา http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.tistr.or.th/t/publication/2/55/105-3.gif&imgrefurl=http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp%3Fi1%3D55%26i2%3D26&usg=__pziOyn2SNXYVj6whiNf4ICl2Alg=&h=300&w=536&sz=19&hl=th&start=101&um=1&tbnid=PT8S2jbsTcxVxM:&tbnh=74&tbnw=132&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B3%26ndsp%3D20%26hl%3Dth%26sa%3DN%26start%3D100%26um%3D1
วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2552
เครื่องกรองน้ำสะอาดแบบชาวบ้าน
1. อุปกรณ์
2. วิธีเจาะ
3. ต่อสายยาง
4. วิธีบรรจุกรวดและทราย
5. การยกระดับ ช่วยให้การไหลของน้ำดีขึ้น และป้องกันการไหล ย้อนกลับ
6. วิธีกรอง
7. วิธีล้างโอ่งกรอง
วิธีการกลั่นลำดับส่วน
หอกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม |
กระบวนการกลั่นแยกส่วน ปิโตรเลียมจะถูกส่งผ่านเข้าไปในท่อเหล็กซึ่งเรียงอยู่เป็นแถวในเตาเผาและมีความร้อนขนาด 315 - 371 องศาเซลเซียส หลังจากนั้น น้ำมันดิบและไอน้ำร้อนจะไหลผ่านไปในหอกลั่นบรรยากาศ ซึ่งมีถาดเรียงกันเป็นชั้น ๆ หลายสิบชั้น
ไอร้อนที่จะกลั่นตัวเป็นของเหลวในถาดชั้นใด (อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 600องศาเซลเซียส )ตามอุณหภูมิของจุดเดือดของน้ำมันในส่วนนั้น ชั้นยอดสุดซึ่งอุณหภูมิต่ำสุดจะเป็นแก๊ส รอง ๆ ลงไปจะเป็นเบนซิน น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเตาน้ำมันล่อลื่น และยางมะตอย ตามลำดับ
ที่มาhttp://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.damrong.ac.th/krukay/lesson3/images/lesson3_data3_057.jpg&imgrefurl=http://www.damrong.ac.th/krukay/lesson3_data3_16.html&usg=__zHHauqDnqzGH09h8VH1r7AVbHLw=&h=373&w=300&sz=34&hl=th&start=16&tbnid=RoqUHTk1JGvOyM:&tbnh=122&tbnw=98&prev=/images%3Fqบ
ที่โรงเรียนบ้านห้วยทราย จ.เชียงใหม่ เมื่อเวลา 10.09 น. วันที่ 15 ก.ย. นายดวงฤทธิ์ เกติมา ผอ.โรงเรียนบ้านห้วยทราย นายอาทิตย์ เรืองกุล รอง ผอ.สำนักงานพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 และ คณะอาจารย์ พร้อมเพื่อน นักเรียน โรงเรียนบ้านห้วยทราย ได้พากันยืนเรียงแถวเพื่อส่งและให้กำลังใจ ด.ช.หม่อง ทองดี อายุ 12 ปี เด็กสัญชาติพม่าที่ชนะการประกวดพับเครื่องบินกระดาษของประเทศ มีกำหนดออกเดินทางโดยรถตู้ไปกรุงเทพฯ เพื่อเข้าพักที่หอพักคุรุสภา ก่อนจะออกเดินทางไปร่วมแข่งขันพับ เครื่องบินกระดาษ ที่เมืองชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 19-20 ก.ย.นี้ สำหรับการเดินทางออกจาก จ.เชียงใหม่ ผอ.โรงเรียนได้พาน้องหม่องจุดธูปไหว้เจ้าที่ศาลพระภูมิ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในโรงเรียน ระหว่างที่เดินขึ้นรถ น้องหม่องได้ถือพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวขึ้นเหนือศีรษะ และเดินผ่านกลุ่มเพื่อนนักเรียนที่ตั้งแถวปรบมือและอวยพรขอให้ประสบความสำเร็จ
ด.ช.หม่อง กล่าวว่า รู้สึกดีใจและภูมิใจที่ทุกคนให้การสนับสนุนและดีใจมากที่ได้เป็นตัวแทนของประเทศไทยไปแข่งขัน อย่างไรก็ตาม การไปครั้งนี้ได้นำเอาภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ติดตัวไปแข่งขันด้วย ซึ่งจะทำหน้าที่ให้ดีที่สุดและคว้าชัยชนะกลับมาประเทศไทยให้ได้
อย่างไรก็ตามผู้สื่อข่าวรายงานว่า ในวันที่ 16 ก.ย. เวลา 21.30 น. น้องหม่องจะเดินทางถึงสนามบินสุวรรณภูมิ จากนั้นในเวลา 23.55 น. ออกเดินทางโดยสายการบิน เจแปน แอร์ไลน์ เที่ยวบิน JL 728 และจะถึงสนามบินนานาชาติ Kansai เมืองโอซากา ในเวลา 07.30 น. ของวันที่ 17 ก.ย. ก่อนจะออกเดินทางด้วยรถไฟไป Fokuyama เมืองฮิโรชิมา เข้าศึกษาตามสถานที่ต่าง ๆ รวมทั้งพิพิธภัณฑ์เครื่องบินกระดาษ และในเวลา 06.45 น. ของวันที่ 18 ก.ย. ก็จะเดินทางออกจากที่พักไปยังสนามบิน เพื่อออกเดินทางโดยเครื่องบิน มุ่งหน้าสู่กรุงโตเกียว เวลา 10.25 น. เดินทางถึงสนามบินโตเกียว เข้าพักที่โรงแรม Hotel Francs ในวันที่ 19 ก.ย. เวลา 09.00 น. จะออกจากโรงแรมไปยังสนามแข่งขัน ซึ่งช่วง เช้าจะฝึกซ้อมและชมการแข่งขันฯประเภททีม นักเรียนประถม จากนั้นในช่วงบ่ายจะเข้าร่วมการ แข่งขันฯประเภททีมผสม ในวันที่ 20 ก.ย. เวลา 09.00 น. ก็จะออกจากโรงแรมไปยังสนามแข่งขัน และช่วงเช้าก็จะฝึกซ้อม ประเภทบุคคลรอบคัด เลือก จากนั้นช่วงบ่าย ก็จะเข้าร่วมการแข่งขันฯ ประเภทบุคคล รอบชิงชนะเลิศ และเดินทางกลับ ถึง
เวลา 15.05 น. ของวันที่ 21 ก.ย.
วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2552
ผลไม้สมุนไพร มะม่วงหาว มะนาวโห่ ช่วยรักษาโรคเป็นผลไม้สมุนไพร ช่วยซ่อมร่างกาย รับประทานสด ๆ วันละ 5-7 ลูก สำหรับผู้ที่ป่วยเป็นโรคปอด หัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่งพอง เบาหวาน ไต เก๊าท์ ไทรอยด์ ช่วยขยายหลอดเลือด เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง มีหลายท่านว่ากันว่าอาการป่วยโรคดังกล่าว จะดีขึ้นเรื่อย ๆ และสุขภาพดีขึ้นมาก ๆ เทศบาลตำบลบางนกแขวก ช่วยเผยแพร่ให้ทุกท่านได้ทราบ รับประทานดู ภาพมะม่วงหาว มะนาวโห่ที่มาของเทศบาลตำบลบางนกแขวกอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามhttp://www.bangnokkweak.go.th/default.php?modules=news&data=detail&ItemOfPage=10&page=2&Id=27
การจำแนกสารรอบตัว
1. ถ้าใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ สามารถจัดกลุ่มได้ 3 กลุ่มดังนี้
1.1 สารที่มีสถานะเป็นของแข็ง
1.2 สารที่มีสถานะเป็นของเหลว
1.3 สารที่มีสถานะเป็นก๊าซ
2. ถ้าใช้สารเป็นเกณฑ์ สามารถจัดได้ 2 กลุ่มคือ สารเนื้อเดียวสารเนื้อ และประส
2.1 สารเนื้อเดียว หมายถึง สารชนิดเดียวหรือสาร 2 ชนิดผสมกันอยู่อย่างกลมกลืนกัน
2.2 สารเนื้อผสม หมายถึง สารตั้งแต่ 2 ชนิดผสมกันแต่เนื้อสารไม่กลมกลืนกันสารละลาย
สารละลาย หมายถึง สารที่ไม่บริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดมารวมกัน แล้วเกิดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน สารละลาย มี 3 ชนิดคือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกทำลายมาก
สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกทำลายน้อย
สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีก
สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ละลาย ได้ที่อุณหภูมิห้อง
สารบริสุทธิ์สารบริสุทธิ์ หมายถึง สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จึงมีสมบัติเหมือนกันตลอด สารที่ใช้ในบ้าน
1.สารที่เป็นกรด หมายถึง สารที่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเปลี่ยนเป็นสีแดงแต่ไม่เปลี่ยน สีกระดาษลิตมัสสีแดง
2.สารที่เป็นเบส หมายถึง สารที่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินแต่ไม่เปลี่ยนสีกระดาษ ลิตมัสสีน้ำเงิน
3.สารที่เป็นกลาง หมายถึง สารที่ไม่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้ง 2 สีที่มาhttp://www.geocities.com/sci123th/m3.html
1. ถ้าใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ สามารถจัดกลุ่มได้ 3 กลุ่มดังนี้
1.1 สารที่มีสถานะเป็นของแข็ง
1.2 สารที่มีสถานะเป็นของเหลว
1.3 สารที่มีสถานะเป็นก๊าซ
2. ถ้าใช้สารเป็นเกณฑ์ สามารถจัดได้ 2 กลุ่มคือ สารเนื้อเดียวสารเนื้อ และประส
2.1 สารเนื้อเดียว หมายถึง สารชนิดเดียวหรือสาร 2 ชนิดผสมกันอยู่อย่างกลมกลืนกัน
2.2 สารเนื้อผสม หมายถึง สารตั้งแต่ 2 ชนิดผสมกันแต่เนื้อสารไม่กลมกลืนกันสารละลาย
สารละลาย หมายถึง สารที่ไม่บริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดมารวมกัน แล้วเกิดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน สารละลาย มี 3 ชนิดคือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกทำลายมาก
สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกทำลายน้อย
สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีก
สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ละลาย ได้ที่อุณหภูมิห้อง
สารบริสุทธิ์สารบริสุทธิ์ หมายถึง สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จึงมีสมบัติเหมือนกันตลอด สารที่ใช้ในบ้าน
1.สารที่เป็นกรด หมายถึง สารที่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเปลี่ยนเป็นสีแดงแต่ไม่เปลี่ยน สีกระดาษลิตมัสสีแดง
2.สารที่เป็นเบส หมายถึง สารที่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินแต่ไม่เปลี่ยนสีกระดาษ ลิตมัสสีน้ำเงิน
3.สารที่เป็นกลาง หมายถึง สารที่ไม่สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้ง 2 สีที่มาhttp://www.geocities.com/sci123th/m3.html
จากวิกิพีเดีย
สารานุกรมเสรีดมีตรี เมนเดเลเยฟ บิดาแห่งตารางธาตุตารางธาตุ คือ ตารางที่ใช้แสดงธาตุเคมี คิดค้นขึ้นโดยนักเคมีชาวรัสเซีย ดมีตรี เมนเดเลเยฟ ในปี พ.ศ. 2412[1] จากการสังเกตว่าเมื่อนำธาตุต่างๆมาเรียงตัวลำดับเลขอะตอม คุณสมบัติต่าง ๆ ของธาตุที่นำมาเรียงนั้นจะมีลักษณะคล้ายกันเป็นช่วง ๆ ซึ่งในปัจจุบันตารางธาตุได้เป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอนวิชาเคมีด้วยเริ่มต้นจาก จอห์น นิวแลนด์ส ได้พยายามเรียงธาตุตามมวลอะตอม แต่เขากลับทำให้ธาตุที่มีสมบัติต่างกันมาอยู่ในหมู่เดียวกัน นักเคมีส่วนมากจึงไม่ยอมรับตารางธาตุของนิวแลนด์ส ต่อมา ดมีตรี เมนเดเลเยฟ จึงได้พัฒนาโดยพยายามเรียงให้ธาตุที่มีสมบัติเหมือนกันอยู่ในหมู่เดียวกัน และเว้นช่องว่างไว้สำหรับธาตุที่ยังไม่ค้นพบ พร้อมกันนั้นเขายังได้ทำนายสมบัติของธาตุใหม่ไว้ด้วย โดยใช้คำว่า เอคา (Eka) นำหน้าชื่อธาตุที่อยู่ด้านบนของธาตุที่ยังว่างอยู่นั้น เช่น เอคา-อะลูมิเนียม (ต่อมาคือธาตุแกลเลียม) เอคา-ซิลิคอน (ต่อมาคือธาตุเจอร์เมเนียม) แต่นักเคมีบางคนในยุคนั้นยังไม่แน่ใจ เนื่องจากว่าเขาได้สลับที่ธาตุบางธาตุโดยเอาธาตุที่มีมวลอะตอมมากกว่ามาไว้หน้าธาตุที่มีมวลอะตอมน้อยกว่า ดมีตรีได้อธิบายว่า เขาต้องการให้ธาตุที่มีสมบัติเดียวกันอยู่ในหมู่เดียวกัน เมื่อดมีตรีสามารถทำนายสมบัติของธาตุได้อย่างแม่นยำ และตารางธาตุของเขาไม่มีข้อน่าสงสัย ตารางธาตุของดมีตรีก็ได้รับความนิยมจากนักเคมีในสมัยนั้นเป็นต้นมา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
1/9
เด็กชาย กฤษฎา อุดมประสิทธิ์
เด็กชาย กฤษณพงศ์ คงคา
เด็กชาย กิตติธร ภู่ปรางค์
เด็กชาย ไกรสี เชื้อสมุท
เด็กชาย จักรพันธ์ อ่วมบุญมี
เด็กชาย เจษฎา วงศ์โสภา
เด็กชาย ณัฐพงศ์ ทิ้งชั่ว
เด็กชาย ณัฐพงษ์ เข้าเมือง
เด็กชาย ณัฐวุฒิ เชิดโกทา
เด็กชาย ธงชัย มาดหมาย
เด็กชาย ธนากร แพ่งเมือง
เด็กชาย ธัชพงศ์ กุมภา
เด็กชาย นรสิงห์ ทองชัยเดช
เด็กชาย บรรพต ระงับใจ
เด็กชาย ประทีป คุณศิลป
เด็กชาย พิษณุ ก้านเงิน
เด็กชาย พีรภาส อิ่มเอม
เด็กชาย ภักดิ์ภูมิ ปัญญามณี
เด็กชาย ภานุพงศ์ ประดิษฐ์
เด็กชาย มารุต ทิพโชติ
เด็กชาย วัชรพล เรืองฤทธิ์
เด็กชาย ศตคุณ คะแยแก้ว
เด็กชาย สมชาย เขียวสี
เด็กชาย สิทธิศักดิ์ โนนพยอม
เด็กชาย อภิรักษ์ แก่นใจเด็ด
เด็กชาย อมรเทพ เทียนทองเลิศ
เด็กชาย อุดมศักดิ์ สุดสาย
เด็กหญิง กัญญาวีร์ นงลักษณ์
เด็กหญิง จารุวรรณ บัวแผน
เด็กหญิง จิระกานต์ ระบอบ
เด็กหญิง ชนารีย์ ยาหมู
เด็กหญิง นารีรัตน์ จินดาประทุม
เด็กหญิง พสิกา จันทร์พุด
เด็กหญิง พัชรี อินทรกง
เด็กหญิง มัทนา ลีโต
เด็กหญิง วัชราวดี ระวังภัย
เด็กหญิง ศิริรัตน์ ว่านเครือ
เด็กหญิง สุกัลยาณี พ่ายเวหา
เด็กหญิง โสภา สุขศรี
เด็กหญิง อรญา แสงทอง
เด็กชาย กฤษณพงศ์ คงคา
เด็กชาย กิตติธร ภู่ปรางค์
เด็กชาย ไกรสี เชื้อสมุท
เด็กชาย จักรพันธ์ อ่วมบุญมี
เด็กชาย เจษฎา วงศ์โสภา
เด็กชาย ณัฐพงศ์ ทิ้งชั่ว
เด็กชาย ณัฐพงษ์ เข้าเมือง
เด็กชาย ณัฐวุฒิ เชิดโกทา
เด็กชาย ธงชัย มาดหมาย
เด็กชาย ธนากร แพ่งเมือง
เด็กชาย ธัชพงศ์ กุมภา
เด็กชาย นรสิงห์ ทองชัยเดช
เด็กชาย บรรพต ระงับใจ
เด็กชาย ประทีป คุณศิลป
เด็กชาย พิษณุ ก้านเงิน
เด็กชาย พีรภาส อิ่มเอม
เด็กชาย ภักดิ์ภูมิ ปัญญามณี
เด็กชาย ภานุพงศ์ ประดิษฐ์
เด็กชาย มารุต ทิพโชติ
เด็กชาย วัชรพล เรืองฤทธิ์
เด็กชาย ศตคุณ คะแยแก้ว
เด็กชาย สมชาย เขียวสี
เด็กชาย สิทธิศักดิ์ โนนพยอม
เด็กชาย อภิรักษ์ แก่นใจเด็ด
เด็กชาย อมรเทพ เทียนทองเลิศ
เด็กชาย อุดมศักดิ์ สุดสาย
เด็กหญิง กัญญาวีร์ นงลักษณ์
เด็กหญิง จารุวรรณ บัวแผน
เด็กหญิง จิระกานต์ ระบอบ
เด็กหญิง ชนารีย์ ยาหมู
เด็กหญิง นารีรัตน์ จินดาประทุม
เด็กหญิง พสิกา จันทร์พุด
เด็กหญิง พัชรี อินทรกง
เด็กหญิง มัทนา ลีโต
เด็กหญิง วัชราวดี ระวังภัย
เด็กหญิง ศิริรัตน์ ว่านเครือ
เด็กหญิง สุกัลยาณี พ่ายเวหา
เด็กหญิง โสภา สุขศรี
เด็กหญิง อรญา แสงทอง
เกี่ยวกับฉัน
- พสิกา จันทร์พุด โรงเรียนเมืองเชลียง
- ดิฉันได้จัดทำเว็บบล็อคแห่งนี้ขึ้นเพื่อเรียนรู้แลกเปลี่ยน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ดูหนังสือเตรียมตัวสอบ การสร้างแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การนำข้อมูลจัดทำ Microsoft PowerPoint การจัดทำงานแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รูปแบบ e-book เพื่อให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากการเรียนรู้ในห้องเรียน ขอขอบพระคุณเว็บไซต์BLOGSPOT.COM ที่ให้พื้นที่ในการจัดทำเว็บไซต์ฟรีทุกอย่าง ขอขอบพระคุณแหล่งข้อมูลความรู้จากเว็บไซต์ต่างๆที่นำมาลงเป็นบทความค่ะ ประโยชน์จากการเรียนรู้นี้ขอมอบให้ผู้อ่านทุกคน ขอเชิญติ ชม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือข้อเสนอแนะได้ที่เว็บบอร์ดค่ะ tan_mcl@chaiyo.com tel 0836251237
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
หนังสอพิมพ์เดลินิวส์
หนังสือพืมพ์ผู้จัดการ
หนังสือพิมพ์ข่าวสด
หนังสือพิมพ์มติชน
หนังสือพิมพ์สยามรัฐ
หนังสือพิมพ์แนวหน้า
หนังสือพิมพ์บ้านเมือง
หนังสือพิมพ์คมชัดลึก
โต๊ะข่าวภาคใต้สถาบันอิสรา
หนังสือพิมพ์โพสทูเดย์
เดอะเนชั่น
ไทยโพสต์
กรุงเทพธุรกิจ
สยามกีฬา
กองฉลาก
กรมอุตุนิยมวิทยา
ทีวีช่อง3 ผังรายการ
TPBS ผังรายการ
ทีวีช่อง5 ผังรายการ
ทีวีช่อง7 ผังรายการ
ทีวีช่อง9 ผังรายการ
ทีวีช่อง11 ผังรายการ
ASTV ผังรายการ
INNNEWS
mcot news
CNN
worldnewsconnect.com
นสพ.คอม
student-weekly
Bankok post
New York Times
BECNEWS.COM
Xinhua news (English)
http://www.reuters.com/
รวม
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์
http://p.moohin.com/080.shtml
http://www.taradpra.com/prd/Store.asp?storeNo=2244&gallery=y
http://adpra.blogspot.com/2008_03_01_archive.html
The Web Inquiry Based Learning Module
https://www.myfirstbrain.com/Default.aspx
e-mail
เพลงเพราะๆครับ
http://anchalit.multiply.com/photos/album/7/7
http://www.taradpra.com/prd/Store.asp?storeNo=2244&gallery=y
http://adpra.blogspot.com/2008_03_01_archive.html
The Web Inquiry Based Learning Module
https://www.myfirstbrain.com/Default.aspx
เพลงเพราะๆครับ
http://anchalit.multiply.com/photos/album/7/7
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทย(ซาวด์)
เพลงสรรเสริญพระบารมี
เพลงสรรเสริญพระบารมี(ซาวด์)
เพลงสดุดีมหาราชา
เพลงสดุดีมหาราชา(ซาวด์)
เพลงภูมิพลังแผ่นดิน
เพลงภูมิพลังแผ่นดิน(ซาวด์)
เพลงมหาฤกษ์(ยาว)
เพลงมหาฤกษ์(สั้น)
เพลงมหาชัย
กราวกีฬา
เพลงชาติไทย(ซาวด์)
เพลงสรรเสริญพระบารมี
เพลงสรรเสริญพระบารมี(ซาวด์)
เพลงสดุดีมหาราชา
เพลงสดุดีมหาราชา(ซาวด์)
เพลงภูมิพลังแผ่นดิน
เพลงภูมิพลังแผ่นดิน(ซาวด์)
เพลงมหาฤกษ์(ยาว)
เพลงมหาฤกษ์(สั้น)
เพลงมหาชัย
กราวกีฬา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- Backward Design
- http://emotopzaa.blogspot.com/
- skooolthai
- กรมอุตุนิยมวิทยา
- การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
- ข่าวสด
- ครูจูดี้ โรงเรียนสุพีเรีย รัฐวิคอนซิน สหรัฐอเมริกา
- ครูฉลิต ฉายกี่ โรงเรียนเมืองเชลียง
- ครูบ้านนอก
- ครูประนอม ฉายกี่
- ครูราตรี โรงเรียนเมืองเชลียง
- ครูวันเพ็ญ โรงเรียนเมืองเชลียง
- ครูวีระศักดิ์
- ครูไทย
- ครูไทยแลนด์ดอทเน็ต
- ความรู้อุตุนิยมวิทยา
- จิระวัฒน์ บุรี 1/3
- ผอ.คณิตพันธ์
- ผอ.เฟรด สหรัฐอเมริกา
- พระอภัยมณี
- พันธะเคมี
- ฟิสิกส์นิวเคลียร์
- มติชน
- ระบบประสาท
- ศูนย์...ไม่ศุนย์
- สอบครูดอทเน็ต
- สังข์ทอง
- ห้อง 4/2 โรงเรียนเมืองเชลียง
- ห้อง 6/2 โรงเรียนเมืองเชลียง
- อ.จิระ งอกศิลป์
- อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
- เดลี่นิวส์
- โลกและดาราศาสตร์
- ไทยรัฐ
รวม web กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
รวม web กลุ่มสาระ กอท.
รวม web กลุ่มสาระศิลปะ
รวม web กลุุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
รวม web กลุ่มสาระสังคมฯ ศาสนารวม
web กลุ่มสาระคณิตศาตร์รวม
web กลุ่มสาระภาษาไทยรวม
web กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์สาระน่ารู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์เนื้อหาสาระทางด้านวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา
ภาษาต่างประเทศสาระน่ารู้ เนื้อหากลุ่มสาระวิชาภาษาต่างประเทศ
ภาษาไทยเนื้อหาสาระเกี่ยวกับกลุ่มสาระวิชาภาษาไทย
สุขศึกษาและพลศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ศิลปศึกษาและดนตรีกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษาและดนตรี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ผู้ติดตาม
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2009
(12)
-
▼
กันยายน
(11)
- ไม่มีชื่อ
- ไม่มีชื่อ
- การกรองการกรอง คือ การแยกสารผสมที่มีสถานะเป็นของแข...
- การผลึกตก
- การตกผลึกการตกผลึก คือ การแยกของผสมที่เป็นของแข็งท...
- การตกผลึกการตกผลึก คือ การแยกของผสมที่เป็นของแข็งท...
- คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว...
- เครื่องกรองน้ำสะอาดแบบชาวบ้านคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบา...
- ไม่มีชื่อ
- การจำแนกสารรอบตัว1. ถ้าใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์ สาม...
- ที่มาhttp://www.google.co.th/imgres?...
-
▼
กันยายน
(11)